เตรียมใบงาน และแผนการสอนวิชาอาเซียน
แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้
รายวิชา สค02015อาเซียนศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2558
เรื่อง พัฒนาการอาเซียน
ตัวชี้วัด
1.
บอกประวัติความเป็นมาของอาเซียน (ASEAN)ได้
2.
เข้าใจวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประเทศสมาชิกอาเซียน
(ASEAN)ได้
3.
บอกความหมายและความสำคัญของอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน(ASEAN Charter)ได้
มาตรฐานการเรียนรู้
มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองการปกครองสามารถนำมาปรับใช้ในการดำรงชีวิต
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาและพัฒนาการของอาเซียน(ASEAN)
2.
อธิบายประวัติวัตถุประสงค์การก่อตั้งอาเซียน
3.
อธิบายความหมายและความสำคัญของอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน
(ASEAN Charter)
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
1.1 ความเป็นมาของ
อาเซียน
(ASEAN)
1.2 วัตถุประสงค์ในการ
ก่อตั้งและประเทศ
สมาชิกอาเซียน
(ASEAN)
|
ขั้นวางแผน
(P)
1.
ครูจัดเตรียมใบความรู้ที่ 1 เรื่อง
ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน
ขั้นดำเนินการ (D)
1.
ครูทบทวนเนื้อหาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และงานที่มอบหมาย
2.
ครูเริ่มเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับผู้เรียน ซักถาม-ตอบ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาเซียน
3. ครูอธิบายความเป็นมาของ
อาเซียน
(ASEAN) วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งและประเทศสมาชิกอาเซียน(ASEAN)และให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ที่
1
4. ครูให้ผู้เรียนสรุปความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียนลงในใบงานที่ 1
5. ครูและผู้เรียนสรุปเรื่องการ
ก่อตั้งและสมาชิกอาเซียน
6.
ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบตามหัวข้อที่กำหนดให้เพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ
7.
ครูมอบหมายงานกรต.ให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้า ดังหัวข้อต่อไปนี้
- ประเทศสมาชิกอาเซียนใน
ปัจจุบัน
-
ความหมายและความสำคัญของอาเซียน และกฎบัตรอาเซียน
|
1.
ผู้เรียนเตรียมส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
2.
ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
3.
ผู้เรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้และสรุปเนื้อหาสำคัญไว้ในสมุดบันทึกการเรียนรู้
4.
ผู้เรียนร่วมกันทำใบงานและสรุปร่วมกันโดยให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.
ผู้เรียนทำแบบทดสอบตามที่ได้รับมอบหมายและร่วมเฉลยคำตอบ
6.
ผู้เรียนจดบันทึกหัวข้องานที่ได้รับมอบหมายเพื่อไปศึกษาค้นคว้า
และนำข้อมูลที่ได้ไปเก็บไว้ในแฟ้มสะสมงาน นำเสนอในการพบกลุ่มครั้งต่อไป
|
3 ชั่วโมง
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- ใบความรู้
- ใบงาน
- สื่อประกอบการเรียน
การวัดและประเมินผล
-
การมีส่วนร่วม
- การตอบคำถาม
- การสังเกต
- แบบทดสอบ
แผนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม
รายวิชา ศิลปศึกษา ทช 21003
สาระการดำเนินชีวิต จำนวน 2 หน่วยกิต (80 ชั่วโมง ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ดนตรีไทย
ตัวชี้วัด
1.
อธิบาย ความสำคัญ ความเป็นมาและวิวัฒนาการของเครื่องดนตรีไทยชนิดต่างๆ
2.
อธิบายประเภทของดนตรีและเทคนิควิธีการเล่นเครื่องดนตรีไทย
3.
อธิบาย วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
คุณค่าของความงามและความไพเราะของเพลงแลเครื่องดนตรีไทย
4.
ประวัติของคุณความรักและหวงแหนตลอดจนร่วมสืบสานกระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านเพลงและดนตรีไทย
มาตรฐานการเรียนรู้
รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม
ชื่นชม เห็นคุณความงาม
ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางทัศน์ศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลปะไทย และสามารถวิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์ได้อย่างเหมาะสม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.
อธิบาย ความสำคัญ
ความเป็นมาและวิวัฒนาการของเครื่องดนตรีไทยชนิดต่างๆได้
2.
อธิบายประเภทของเครื่องดนตรีและเทคนิควิธีการเล่นเครื่องดนตรีไทยได้
3.
อธิบาย วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
คุณค่าของความงามและความไพเราะของเพลงแลเครื่องดนตรีไทยได้
4.
ประวัติของคุณความรักและหวงแหนตลอดจนร่วมสืบสานกระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านเพลงและดนตรีไทยได้
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
1. ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการของเครื่องดนตรีไทย
2.
เทคนิควิธีการเล่นของเครื่องดนตรีไทยแต่ละประเภท
3.
คุณค่าของความงามและไพเราะของเพลงและเครื่องดนตรีไทย
4.
ประวัติของคุณความรักและหวงแหนของภูมิปัญญาตลอดจนกิจกรรมกระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาทางด้านเพลงและดนตรีไทย
|
ขั้นวางแผน (P)
ครูเตรียมใบงาน
ใบความรู้ เรื่อง เทคนิคและวิธีการเล่นดนตรีไทย
ขั้นดำเนินการ (D)
1.
ครูเริ่มเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับผู้เรียน ซักถาม-ตอบ เกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทยที่ผู้เรียนรู้จัก
2.
ครูอธิบายถึงเรื่องประวัติดนตรีไทย การสร้างสรรค์ทางดนตรี
ภูมิปัญญาไทยกับการสร้างสรรค์ทางดนตรี มาพอสังเขป
3.
ครูแจกใบความรู้ ครูแจกใบงานให้นักศึกษาตามหัวข้อดังนี้
3.1
ให้ผู้เรียนทำใบงานที่ 3 และ 4
3.ครูให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด เป็นรายบุคคล
4.
ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในใบงานและแบบฝึกหัด
5.
ครูมอบหมาย กรต. ตามหัวข้อดังนี้
- ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนากรของนาฏศิลป์ไทยประเภทต่างๆ
- ท่ารำและการสื่อความหมายในนาฏศิลป์ไทย
- ประวัติ ความเป็นมาวิวัฒนาการ
ความหมายของเนื้อพลงะและการแต่งกายประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
-
บอกประโยชน์และเลือกชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่ตนเองสนใจเพื่อสร้างความสุขและประโยชน์ต่อตนเอง
-
บอกประโยชน์และคุณค่าของนาฏศิลป์ไทยและภาษาท่าเพื่อการอนุรักษ์ด้านนาฏศิลป์
-
บอกแนวทางการอนุรักษ์การละเล่นตามวัฒนธรรม ประเพณี
ภูมิปัญญาตามแนวทางนาฏศิลปไทยของภาคต่างๆ
|
1.
ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความเทคนิคเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการเล่นดนตรีไทย
2. ผู้เรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้และทำใบงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
3. ผู้เรียนร่วมกันทำใบงานและสรุปร่วมกันโดยให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.
ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดเป็นรายบุคคล
5. ผู้เรียนร่วมกันสรุปและเฉลยเนื้อหาในแบบฝึกหัดแล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
6. มอบหมาย กรต. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเรื่อง- ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนากรของนาฏศิลป์ไทยประเภทต่างๆ
- ท่ารำและการสื่อความหมายในนาฏศิลป์ไทย
- ประวัติ ความเป็นมาวิวัฒนาการ
ความหมายของเนื้อพลงะและการแต่งกายประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
- ประวัติ ความเป็นมาวิวัฒนาการ
ความหมายของเนื้อพลงะและการแต่งกายประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
-
บอกประโยชน์และเลือกชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่ตนเองสนใจเพื่อสร้างความสุขและประโยชน์ต่อตนเอง
-
บอกประโยชน์และคุณค่าของนาฏศิลป์ไทยและภาษาท่าเพื่อการอนุรักษ์ด้านนาฏศิลป์
-
บอกแนวทางการอนุรักษ์การละเล่นตามวัฒนธรรม ประเพณี
ภูมิปัญญาตามแนวทางนาฏศิลปไทยของภาคต่างๆ
|
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- ใบความรู้
- แบบเรียนวิชาทักษะการดำเนินชีวิต ทช 21003
- ใบงาน /แบบฝึกหัด
การวัดและประเมินผล
-
การมาพบกลุ่ม
-
การมีส่วนร่วม /การตอบคำถาม / การสังเกต
- ใบงาน /แบบฝึกหัด
แผนการเรียนรู้/แบบกลุ่ม
รายวิชา
รายวิชา ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา
จำนวน 3 หน่วยกิต(120
ชั่วโมง)
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง เรื่องอาหารและ โภชนาการ
ตัวชี้วัด
1.อธิบายปัญหา
สาเหตุ อาการ และการป้องกันโรค
2.บอกหลักการ และปฎิบัติตนตามหลักสุขภิบาลอาหารได้อย่างเหมาะสม
3.จัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมสำหรับครอบครัว
ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย
มาตรฐานการเรียนรู้
รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม เจตคติที่ดี
มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีปฏิบัติเป็นกิจนิสัย
วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเองและครอบครัว
ตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมด้านสุขภาพพลานามัยและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.รู้ และเข้าใจถึงหลักอาหารและโภชนาการที่จำเป็น
และมีประโยชน์ต่อร่างกาย
2.สามารเลือกบริโภคอาหาร และโภชนาการที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้อย่างถุกต้อง
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
1.โรคขาดสารอาหารได้แก่
โรคลักปิดลักเปิด โรคคอหอยพอก โรคเอ๋อ โรคตาฟาง โรคโลหิตจาง
ฯลฯ
2.หลักการสุขาภิบาลอาหาร
-การปนเปื้อน
-การปรุงและจำหน่าย
-ผู้ประกอบการ
จำหน่ายอาหาร
-สุขลักษณะทั่วไปบริเวณแผงจำหน่าย
-สุขลักษณะอาหารถุง
ฯลฯ
3.การจัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลกลุ่มต่างๆ
-ตนเองและครอบครัว
-ผู้สูงอายุ
-ผู้ป่วย
ฯลฯ
|
กิจกรรมการเรียนรู้
1.กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
( 5 – 10 นาที ) โดยผู้สอนพูดคุยกับผู้เรียนถึงการรับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาก่อนมาเรียน
2.ทบทวน กรต. ( 20 นาที )
โดยผู้สอนพูดคุยกับหัวข้อสาระการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนไป ทำกรต.มา
และให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปสาระสำคัญในแต่ละหัวข้อ
ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมกรณีที่มีข้อสงสัยจากผู้เรียน
3.กิจกรรมการเรียนรู้
โดยผู้สอนชี้แจงสาระการเรียนรู้และผลการาเรียนรู้ที่คาดหวังของการพบกลุ่มครั้งที่
2
4.แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ
6 – 8 คน โดยคนเพศละวัย ให้แต่ละกลุ่มคัดเลือกประธาน เลขาฯ และผู้สังเกตการณ์
5.ผู้สอนแจกใบงานให้แต่ละกลุ่มศึกษาประเด็น
ตามใบงานกลุ่มละ 5 นาที โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ในศูนย์การเรียนชุมชน และสรุปประเด็น
ของกลุ่ม
7.การสรุปบทเรียน
ให้ผู้เรียนช่วยสรุปบทเรียนเกี่ยวกับ
8.ผู้สอนยกตัวอย่าง
10.ผู้เรียนผู้สอนช่วยกันสรุปข้อดีของการวางชีวิตและการวางแผนครอบครัวรวมทั้งข้อเสียของการไม่วางแผนชีวิตและครอบครัว
11.การมอบหมาย
กรต. ให้ผู้เรียนวางแผนการร่วมกลุ่มเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย
เล่นกีฬา บำเพ็ญประโยชน์และ นันทนาการ
12.ทดสอบย่อยและการประเมินผลการเรียนรู้
|
กิจกรรมการเรียนรู้
1.ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าตามสาระการเรียนรู้ที่กำหนดจากเอกสารคู่มือเรียน
บทความในวารสารสุขภาพ จากห้องสมุดประชาชน/ห้องสมุดโรงเรียน/ศูนย์การเรียนชุมชน
ฯลฯ
2.ผู้เรียนสรุปประเด็น/สาระสำคัญ
จัดทำเป็นรายงานสรุปความยาวไม่เกิน 3 หน้ากระดาษ A4 ส่งให้ผู้สอน
3.ผู้เรียนเตรียมประเด็นคำถามที่ต้องการให้ผู้สอนแนะนำเพิ่มเติมหรือต้องการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในกลุ่ม
เพื่อนำเสนอในระหว่างการพบกลุ่ม
|
|
สื่อ/อุปกรณ์การเรียนรู้
1.หนังสือพิมพ์
2.แบบเรียน
3.วารสารใกล้หมอ/หมอชาวบ้าน
4.บทความในวารสารต่างๆ
5.ใบงาน
6.กระดาษปรุ๊ฟ/กระดาษ A4
7.ปากกาเมจิก
การวัดผล/ประเมินผล
การสังเกต
กระบวนการกลุ่ม
การมีส่วนร่วม
ผลงาน/ชิ้นงาน
แบบฝึกหัด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น