แผนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม
รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001
สาระทักษะการดำเนินชีวิต จำนวน 1 หน่วยกิต ( 40 ชั่วโมง ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สัปดาห์ที่
3 การสร้างเครือข่ายการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง
ตัวชี้วัด
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของชุมชนในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานการเรียนรู้
รู้ เข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่า
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถประยุกต์ใช้ในครอบครัว
และมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตของตนเองและครอบครัวอย่างมีความสุข
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของชุมชนในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สามารถสร้างเครือข่ายตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
-
การส่งเริม เผยแพร่ ขยายผลงานการปฏิบัติตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล
ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จ
-
การสร้างเครือข่ายการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-
กระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
|
ขั้นวางแผน (P)
ครูเตรียมใบงาน
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเครือข่ายดำเนินชีวิตแบบพอเพียง
ขั้นดำเนินการ (D)
1.
ครูเริ่มเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับผู้เรียน ซักถาม-ตอบ เกี่ยวกับบุคคลที่ปฏิบัติตามหลักเศรษฐพอเพียงของบุคคล ชุมชน ที่ประสบความสำเร็จ
2.
ครูอธิบายถึงขั้นตอนการส่งเสริม เผยแพร่ ขยายผลงาน
การปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล ชุมชน ที่ประสบความสำเร็จ พอสังเขป
3.
ครูแจกใบความรู้ ครูแจกใบงานให้นักศึกษาตามหัวข้อดังนี้
3.1
การสร้างเครือข่ายการประกอบอาชีพ
และการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3.2
กระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
3.ครูให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด เป็นรายบุคคล
4.
ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในใบงานและแบบฝึกหัด
5.
ครูมอบหมาย กรต. ตามหัวข้อดังนี้
- ทบทวนบทเรียน
|
1.
ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นบุคคลที่ปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล
2. ผู้เรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้และทำใบงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
3.
ผู้เรียนร่วมกันทำใบงานและสรุปร่วมกันโดยให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.
ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดเป็นรายบุคคล
5. ผู้เรียนร่วมกันสรุปและเฉลยเนื้อหาในแบบฝึกหัดแล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
6. มอบหมาย กรต. ให้ผู้เรียนไปทบทวนบทเรียน
|
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-
ใบความรู้
-
แบบเรียนวิชารายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง
ทช 21001
- ใบงาน
/แบบฝึกหัด
การวัดและประเมินผล
-
การมาพบกลุ่ม
-
การมีส่วนร่วม /การตอบคำถาม / การสังเกต
- ใบงาน /แบบฝึกหัด
แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้
รายวิชา ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
สัปดาห์ที่
3 เรื่อง การพัฒนาการของร่างกาย
ตัวชี้วัด
1.
อธิบายโครงสร้าง
หน้าที่การทำงานของอวัยวะสำคัญของร่างกาย 5 ระบบได้อย่างถูกต้อง
2.
ปฏิบัติตนในการดูแลรักษาป้องกันอาการผิดปกติของระบบอวัยวะสำคัญ
5
ระบบได้อย่างถูกต้อง
3.
อธิบายพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงตามวัยของมนุษย์ด้านร่างกาย
จิตใจ สติปัญญาได้อย่างถูกต้อง
มาตรฐานการเรียนรู้
1.
เข้าใจถึงโครงสร้าง หน้าที่
และการทำงานของระบบอวัยวะที่สำคัญในร่างกายรวมถึง
การป้องกันดูแลรักษาไม่ให้เกิดการผิดปกติ
2.
เข้าใจถึงพัฒนาการของร่างกายที่เปลี่ยนแปลงตามวัยทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.
อธิบายโครงสร้าง หน้าที่
และการทำงานของระบบอวัยวะสำคัญของร่างกาย
2.
บอกวิธีปฏิบัติตนในการดูแลรักษาและป้องกันอาการผิดปกติของระบบอวัยวะที่สำคัญ
3.
อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ได้
4.
อธิบายพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในด้านต่าง
ๆ ได้
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
1. โครงสร้าง หน้าที่ การทำงาน และการดูแลรักษาระบบต่างๆ
ที่สำคัญของร่างกาย
5 ระบบ
- ระบบผิวหนัง
- ระบบกล้ามเนื้อ
- ระบบกระดูก
- ระบบไหลเวียนโลหิต
- ระบบหายใจ
2.
พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงตามวัยด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
สติปัญญา
- วัยทารก
- วัยเด็ก
- วัยรุ่น
- วัยผู้ใหญ่
- วัยชรา
|
ขั้นวางแผน
(P)
1.
ครูจัดเตรียมใบความรู้เรื่อง การพัฒนาการ
ขั้นดำเนินการ (D)
1.
ครูทบทวนเนื้อหาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว และงานที่มอบหมาย
2.
ครูเริ่มเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับผู้เรียน ซักถาม-ตอบ
เกี่ยวกับอวัยวะของคนเราที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอกและอวัยวะซึ่งอยู่ภายในร่ายกาย
ให้ผู้เรียนช่วยกันตอบคำถาม
3.
ครูอธิบายถึงโครงสร้าง หน้าที่ การทำงานของระบบต่าง ๆ
ในร่างกายของมนุษย์ โดยให้ผู้เรียนดูรูปภาพประกอบจากใบความรู้ที่ครูมอบให้
4.
ครูได้อธิบายพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงตามวัยโดยให้ผู้เรียนฟังจากครูอธิบาย
และทำความเข้าใจไปพร้อมกันโดยให้ซักถามหากสงสัย
5.
ครูแจกใบงานให้นักศึกษา
โดยให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มช่วยกันทำและสรุปหัวข้อใบงานที่ครูมอบหมายออกนำเสนอหน้าชั้นเรียน
6.
ครูให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดตามหัวข้อที่กำหนดให้เพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ
7.
ครูสรุปสิ่งที่ผู้เรียนนำเสนอสอบถามความรู้ความเข้าใจ
8.
ครูมอบหมายงานกรต.ให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้า ดังหัวข้อต่อไปนี้
-
ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายนอกเหนือจาก 5 ระบบที่ได้เรียนจากการมาพบกลุ่ม
-
ให้ผู้เรียนสรุปพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงตามวัยของมนุษย์ตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยชรา
|
1.
ผู้เรียนเตรียมส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
2.
ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
3.
ผู้เรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้และสรุปเนื้อหาสำคัญไว้ในสมุดบันทึกการเรียนรู้
4.
ผู้เรียนร่วมกันทำใบงานและสรุปร่วมกันโดยให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.
ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดตามที่ได้รับมอบหมายและร่วมเฉลยคำตอบ
6.
ผู้เรียนจดบันทึกหัวข้องานที่ได้รับมอบหมายเพื่อไปศึกษาค้นคว้า
และนำข้อมูลที่ได้ไปเก็บไว้ในแฟ้มสะสมงาน นำเสนอในการพบกลุ่มครั้งต่อไป
|
3 ชั่วโมง
7 ชั่วโมง
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- ใบความรู้
- แบบเรียนวิชาสุขศึกษา พลศึกษา
- ใบงาน
- แบบฝึกหัด
การวัดและประเมินผล
-
การมีส่วนร่วม
- การตอบคำถาม
- การสังเกต
- แบบฝึกหัด
แผนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม
รายวิชา ศิลปศึกษา ทช 21003
สาระการดำเนินชีวิต จำนวน 2 หน่วยกิต (80 ชั่วโมง ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สัปดาห์ที่
3 นาฏศิลป์ไทย
ตัวชี้วัด
1. บอกรูปแบบ องค์ประกอบ
และวิธีการแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทต่างๆ
2. แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่อการแสดงประเภทต่างๆ
3. อธิบายท่ารำและสื่อความหมายของนาฏศิลป์ไทย
4,
บอกหลักและวิธีการฝึกการใช้ท่าทางสื่อความหมาย
5. อธิบายการประยุกต์ท่ารำวงมาตรฐานไปใช้กับเพลงเพื่อในโอกาสต่างๆ
มาตรฐานการเรียนรู้
รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณความงาม
ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางทัศน์ศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลปะไทย และสามารถวิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์ได้อย่างเหมาะสม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. บอกรูปแบบ องค์ประกอบ
และวิธีการแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทต่างๆได้
2.
แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่อการแสดงประเภทต่างๆ
3. อธิบายท่ารำและสื่อความหมายของนาฏศิลป์ไทย
4. บอกหลักและวิธีการฝึกการใช้ท่าทางสื่อความหมาย
5. อธิบายการประยุกต์ท่ารำวงมาตรฐานไปใช้กับเพลงเพื่อในโอกาสต่างๆ
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
นาฏศิลป์ไทย
|
ขั้นวางแผน (P)
ครูเตรียมใบงาน
ใบความรู้ เรื่อง ประเภทของนาฏศิลป์ไทย ภาษาท่า
ขั้นดำเนินการ (D)
1.
ครูได้พูดเข้าสู่บทเรียนและร่วมสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทยมีข้อดีอย่างไร
2.
ครูอธิบายถึงเรื่องที่มาของนาฏศิลป์ไทยและฝึกให้ผู้เรียนแสดงท่ารำ
พอสังเขป
3.
ครูแจกใบความรู้ และครูแจกใบงานให้นักศึกษาทำตามหัวข้อ ดังนี้
-
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
- ภาษาท่า
-
รำวงมาตรฐาน
3.
ครูสรุปเนื้อหาและเฉลยใบงาน
4.
ครูให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดเป็นรายบุคคล
5.
ครูได้สรุปเนื้อหาและเฉลยแบบฝึกหัด
6.
ครูมอบหมาย กรต. ตามหัวข้อดังนี้
- ทบทวนบทเรียน
|
1.
ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์และสนทนาแสดงความคิดเห็นนาฏศิลป์ไทยมีข้อดีอย่างไร
2.
ร่วมกันศึกษาใบความรู้และทำใบงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
3. ผู้เรียนร่วมกันทำใบงานและสรุปร่วมกันโดยให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในใบงาน
5.
ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย
6. ร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดและแก้ไขให้ถูกต้อง
7. ผู้เรียนรับมอบหมาย กรต. ไปทบทวนบทเรียน
|
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-
ใบความรู้
- แบบเรียนวิชาศิลปศึกษา
- ใบงาน /แบบฝึกหัด
การวัดและประเมินผล
-
การมาพบกลุ่ม
-
การมีส่วนร่วม /การตอบคำถาม / การสังเกต
- ใบงาน /แบบฝึกหัด
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาภาษาไทย เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้/แบบกลุ่ม
รายวิชา
รายวิชา พท 31001 ภาษาไทย
จำนวน 3
หน่วยกิต(120 ชั่วโมง)
ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง การอ่าน
มาตรฐานการเรียนรู้
1. เห็นความสำคัญของการอ่าน ทั้งการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ
2. สามารถอ่านได้อย่างถูกต้อง และอ่านได้เร็ว เข้าใจความหมายของถ้อยคำ ข้อความเนื้อเรื่องที่อ่าน
3. มีมารยาทในการอ่านและนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด
1. เข้าใจความสำคัญหลักการ
และจุดมุ่งหมายของการอ่านทั้งอ่านออกเสียงและอ่านในใจ
2. อ่านออกเสียงคำ ข้อความ
บทความ บทสนทนาเรื่องสั้น บทร้อยกรองและทร้องเล่น บทกล่อมเด็ก
3.
อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน
4.
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทในการอ่านและนิสัยรักการอ่าน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.จับใจความสำคัญ ตีความ คาดหวัง
ขยายความเรื่องที่อ่าน
2.วิเคราะห์ วิจารณ์ความสมเหตุสมผล
ความเป็นไปได้ และลำดับความคิดของเรื่องที่อ่านได้
3. เข้าใจความหมายของภาษาถิ่น สำนวน
สุภาษิตในวรรณกรรมท้องถิ่น
4.เลือกอ่านหนังสือ
จากแหล่งความรู้เป็นผู้มีมารยาทในการอ่านและรักการอ่าน
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
1.ความสำคัญของการอ่าน
2.วิจารณญาณในการอ่าน
3.การอ่านแปลความ
ตีความ
ขยายความ จับใจความหรือสรุปความ
|
ขั้นวางแผน
1.ครูจัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้
ก่อนพบกลุ่ม
ขั้นดำเนินการ
1.ครูติดตามงานการเรียนรู้ด้วยตนเองในสัปดาห์ที่ผ่านมา เรื่องการประเมินการพูดของพิธีกรในรายการโทรทัศน์
สนทนาซักถามขั้นตอนการประเมิน
2.ครูสรุปเนื้อหาเรื่องการประเมินการพูดเพิ่มเติม
2.
ครูนำภาพการ์ตูนล้อเลียนการเมืองจากหนังสือพิมพ์ แล้ว
ให้ผู้เรียนช่วยกันตีความว่าผู้เขียนต้องการจะบอกอะไรแก่ผู้อ่าน
และผู้อ่านทราบได้อย่างไร
3.
ครูสอดแทรกกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้ผู้เรียนอ่านข่าวในหนังสือพิมพ์ เลือกข่าว
หรือบทความความในหนังสือพิมพ์
สรุปเนื้อหา
และสรุปข้อคิดที่ได้จากข่าวหรือบทความ
4. ครูให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่
1-6
6. ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม
7. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปบทเรียน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
1.ให้สรุปเนื้อหาเรื่องความหมายความสำคัญของวรรณคดี
2.ความหมาย สาเหตุ คุณค่าและลักษณะของภาษาถิ่น
3. คำสำนวน สุภาษิต
|
-ผู้เรียนร่วมสนทนาซักถามและยกตัวอย่าง
-ผู้เรียนร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและอ่านความรู้และสรุปเนื้อหาข้อคิดที่ได้จากการอ่าน
-ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ครูมอบหมาย
ผู้เรียนจดบันทึกจากการฟัง
-ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าในเนื้อหาที่รับผิดชอบ
จดบันทึกเพื่อนำมาเสนอผลงานในสัปดาห์ต่อไป
|
|
สื่อ/อุปกรณ์การเรียนรู้
ใบความรู้
แบบเรียนวิชาภาษาไทย
หนังสือพิมพ์
ใบงาน/แบบฝึกหัด
การวัดผล/ประเมินผล
ความรู้ความเข้าใจ
ความคิดเห็น
กระบวนการกลุ่ม
การมีส่วนร่วม
ผลงาน/ชิ้นงาน
แบบฝึกหัด
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ทช 0206 เพศศึกษาสำหรับพ่อแม่กับลูกวัยรุ่น
สาระทักษะการดำเนินชีวิต ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 1 หน่วยกิต
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำปาง
รายวิชา/หัวเรื่อง
|
ตัวชี้วัด
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
สื่อและแหล่งเรียนรู้
|
วัดผลประเมินผล
|
รู้จักและเข้าใจโลกวัยรุ่น
(5 ชั่วโมง)
รู้จักและเข้าใจโลกวัยรุ่น
(5 ชั่วโมง)
|
1.อธิบายความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับร่างกาย อารมณ์ สังคม เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
2.
ระบุแหล่งเรียนรู้เรื่องเพสของวัยรุ่นและความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทางเพศ
1.อธิบายความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับร่างกาย อารมณ์ สังคม
เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
2.
ระบุแหล่งเรียนรู้เรื่องเพสของวัยรุ่นและความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทางเพศ
|
1.
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ สังคม ของวัยรุ่น
2.
วิถีชีวิตวัยรุ่นในปัจจุบันที่เสี่ยงต่อปัญหาทางเพศ
3.เรียนรู้ความคิด
ความรู้สึก ความสนใจ และสิ่งแวดล้อมของลูก
4.
แหล่งเรียนรู้เรื่องเพศของวัยรุ่น
1.
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ สังคม ของวัยรุ่น
2.
วิถีชีวิตวัยรุ่นในปัจจุบันที่เสี่ยงต่อปัญหาทางเพศ
3.เรียนรู้ความคิด
ความรู้สึก ความสนใจ และสิ่งแวดล้อมของลูก
4.
แหล่งเรียนรู้เรื่องเพศของวัยรุ่น
|
1.กำหนดสภาพ
ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้
1.ครูนำรูปภาพวัยรุ่นชาย
และวัยรุ่นหญิงให้นักศึกษาดู และให้นักศึกษาเขียนบอกความเหมือนและความแตกต่างของเพศชายและเพศหญิงลงในใบงาน
2.
ขั้นแสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้
1.
แบ่งกลุ่มนักศึกษาออกเป็น 3 กลุ่ม ให้ศึกษาใบความรู้ต่อไปนี้
กลุ่มที่
1 อารมณ์ทางเพศและการเกิดอารมณ์ทางเพศ
กลุ่มที่
2 การจัดการกับอารมณ์ทางเพศ
กลุ่มที่
3 อนามัยภาวะเจริญพันธุ์
2.
ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ
3.
ครูสรุปบทเรียนร่วมกัน
3.ขั้นปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
1.
ทำแบบฝึกหัด
- เรื่องอารมณ์ทางเพศ
- เรื่องการเกิดอารมณ์ทางเพศ
- เรื่องอนามัยภาวะเจริญพันธุ์
- เรื่องการปฎิบัติตนของวัยรุ่น
2. ให้นักศึกษาไปศึกษาการคุมกำเนิดและ ช่องทางการรับและแพร่เชื้อ เอช ไอ วี
จากอินเตอร์เนตในเว๊ปไซค์ดังต่อไปนี้
3. ให้นักศึกษาหาข่าวจากหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับวันรุ่นกับเพศสัมพันธ์มาคนละ
1 ข่าว นำเสนออาทิตย์หน้า
4.
ขั้นประเมินผลการเรียนรู้
-
ใบงาน
|
รูปภาพวัยรุ่นชาย
รูปภาพวัยรุ่นหญิง
ใบงานเรื่องความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเพศ
ใบความรู้อารมณ์ทางเพศและการเกิดอารมณ์ทางเพศ
ใบงาน
เรื่องอารมณ์ทางเพศ
- เรื่องการเกิดอารมณ์ทางเพศ
- เรื่องอนามัยภาวะเจริญพันธุ์
- เรื่องการปฎิบัติตนของวัยรุ่น
|
ความสนใจ
การตอบคำถาม
ความร่วมมือ
ความสามัคคี
กระบวนการกลุ่ม
การใฝ่เรียนรู้
การตอบใบงาน
ความรู้ความเข้าใจ
ความรับผิดชอบ
ผลงานนักศึกษา
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น