โครงการสร้างเครือข่ายการแนะแนวอาชีพ
วันที่ 27 กรกฎาคม 2558
ณ ห้องวังธาร โรงแรมรีเจนท์ลอด์จ อำเภอเมืองลำปาง
นายฤทธิพงศ์ เตชะพันธ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง เป็นประธานเปิดการอบรมและให้ข้อคิดแก่ครูที่เข้าอบรมว่ากระบวนการแนะแนวอาชีพให้กับนักเรียนนักศึกษาเป็นกระบวนการที่ดีี่ช่วยให้นักศึกษามีแนวทางประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง ครูแนะแนวต้องมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมเพื่อคอยชี้แนะให้นักศึกษาและตามกลยุทธที่สำคัญของจังหวัดลำปาง
2. วิเคราะห์โอกาสด้านอาชีพของจังหวัดลำปางปัจจุบัน อนาคตที่เด็กลำปางจะต้องได้เรียนรู้เพื่อทำการเชื่อมโยงกับสถานศึกษา
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาลำปาง(5-10 ปี) เน้น
- การท่องเที่ยว ลำปางได้รับการประชาสัมพันธ์ให้เป็นเมือง 1 ใน 12 เมืองรองที่น่าเที่ยว
- เกษตรปลอดภัย ลำปางจะมีโรงเรียนชาวนา 5 แห่ง ให้เป็นระบบส่งเสริให้เห็นต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ซึ่งตอนนี้ดำเนินการที่แจ้ซ้อน ปลูกข้าวน้ำแร่
- สัปปะรด ให้นำเทคดนโลยีมาควบคุมตั้งแต่ เมล็ด ลูก เอามาแปรรูปเป็นน้ำสับปะรด น้ำพริกสับปะรด
- การขนส่งแบบโลจิสติส เป็นศูนย์การขนถ่ายสินค้าจากเมืองสู่เมือง
- การพัฒนากรร่วมกับเอกชน
- การแข่งขันกับตลาดอาเซียนสินค้าของตลาดมุสลิม
สรุปฝากครู การศึกษาไม่ควรเป็นการศึกษาทางเดียวควรมีการสอบถามแลกเปลี่ยนเรียนรู้เช่นเดียวกับการมาอบรมวันนี้ขอให้เกิดแนวทางลำปางโมเดล มีเครือข่ายครูแนะแนว
นายวีระพงศ์ ฤทธิ์รอด หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดลำปาง บรรยายยุทธศาสตร์การพัฒนาลำปาง(5-10 ปี)
ความต้องการแรงงานในปัจจุบัน
1 แรงงานบรรจุภัณฑ์
2 เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน
3 พนักงานขายของหน้าร้าน/สาธิตสินค้า
4 เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี
5 แม่บ้าน
ตำแหน่งงานที่นายจ้างต้องการ
1 แรงงานบรรจุภัณฑ์
2 พนักงานขายของหน้าร้าน/สาธิตสินค้า
3 แรงงานประกอบชิ้นส่วนอุตสาหกรรม
4 เจ้าหน้าที่คลังสินค้า
5 เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน
5ศักยภาพหลักของลำปาง 1 อุตสาหกรรมมีเหมืองแม่เมาะ ปูนซีเมนต์ เซรามิก ไม้แปรรูป
2 เกษตรกรรม สับปะรด ลำไย อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด
3 การท่องเที่ยวป็นเมือง 1 ใน 12 เมืองรองที่น่าเที่ยว เชิงระบบนิเวศ เชิงประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีลำปาง
4 otop เซรามิก ข้าวแต๋น
5 โครงสร้างพิื้นฐาน ประเ็นยุมธศาสตร์ทั้งหมดต้องตอบโจทย์ลำปางนครแห่งความสุข
การนำไปใช้ในงานกศน. จะนำมาปรับให้เข้ากับเอกลักษณ์ของผู้เรียนในเรื่องใฝ่เรียนรู้มุ่งสู่การพัฒนาในด้านการศึกษาต่อของนักศึกษาให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานอาทิ เช่น พนักงานฝ่ายผลิต พนักงานขายของหน้าร้านและสาธิตสินค้าในอนาคตต่อไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น